ยินดีต้อนรับสู่ ฟอร์เอฟเวอร์ แอนด์ อะเดย์ เทคโนโลยี 

  • จ-ศ: 8.00am to 5.00pm
Search

Pulley alignment – Belt alignment คืออะไร ?

Pulley alignment คือการตั้งศูนย์ของตัวสายพาน

การตั้งพูเลย์ (Pulley) ในสมัยก่อนนั้นอาจจะใช้ เส้นเอ็น เชือก หรือ ไม้บรรทัดเหล็ก ในการตั้งแนว ต้องใช้ทีมงานมืออาชีพ และความเชี่ยวชาญของทางผู้ใช้งาน และอาจเกิดความผิดพลาดและคลาดเคลื่อนสูง เพราะข้อจำกัดของเครื่องมือ และความชำนาญของผู้ใช้งาน ฯลฯ

Pulley คืออะไร

    พู่เล่ หรือ มู่เล่ เป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญอย่างมากในระบบสายพาน เพราะว่ามู่เล่จะทำงานควบคู่กับอุปกรณ์อุปกรณ์ต่างๆในระบบสายพานของคุณ
  ดังนั้น หากมูเล่เสียหายไม่สามารถทำงานได้ ในกรณีที่หนักที่สุด อาจจะต้องทำการ Break down เครื่องจักร ทำให้เสียรายได้มหาศาล 
 ดังนั้น เราจึงต้องให้สำคัญและพื้นฐานการเลือกใช้ประเภท pulley และดูแลรักษาที่ถูกต้อง   เพราะที่ผ่านๆมาหลายแห่ง จะไม่ให้ความสำคัญกับ Pulley เท่าที่ควร

หน้าที่ของ Pulley

มูเล่ย์จะมีหน้าที่ในการเปลี่ยนทิศทาง และควบคุมความตึง หรือ ความหย่อนของสายพาน และบางครั้งก็ทำหน้าที่ปรับสายพานเพื่อให้สายพานเดินได้แนว Alignment ตลอดการเคลื่อนที่ของสายพาน

มูเล่ย์ในระบบส่งกำลัง และ ลำเลียงมีกี่ประเภท?

  1. Standard Pulley
  2. Idler Pulley
  3. Variable speed Pulley
  4. Step Pulley
  5. Poly Multi Ribbed Belt Pulley
  6. Timing Pulley
  7. Conveyor Pulley

ตำแหน่งในการติดตั้งของ Pulley (พูเล่) คร่าวๆ

Tail Pulley (ล้อท้าย)

ใช้ตรวจสอบเพลาของเครื่องจักรนั้นงอ หรือคด เนื่องจาก จะทำให้การตั้ง alignment ไม่ได้ประสิทธิภาพ และทำให้เกิดความเสียหายของเครื่องจักรได้นั่นเอง

Bend Pulley (ล้อดัด)

อาจเกิดขึ้นมาจากตอนประกอบ หรือหลังจากใช้งานไประยะเวลานาน ทำให้ลูกปืนเกิดการเสื่อมสภาพ

Head Pulley (ล้อหัว)

ใช้ตรวจสอบค่าความหนีของศูนย์เพลา หรือ เพลาแกว่ง ที่เกิดจากการติดตั้งที่ไม่ได้มาตรฐาน

Snub Pulley (ล้อกดสายพาน)

ใช้ตรวจสอบค่าความหนีของศูนย์เพลา หรือ เพลาแกว่ง ที่เกิดจากการติดตั้งที่ไม่ได้มาตรฐาน

Take-Up Pulley (ล้อปรับความตึง)

อาจเกิดขึ้นมาจากตอนประกอบ หรือหลังจากใช้งานไประยะเวลานาน ทำให้ลูกปืนเกิดการเสื่อมสภาพ

การตั้ง Laser alignment สายพาน

FAAD ขอเสนอ เครื่องมือที่ช่วยให้คุณ ตั้งสายพานได้อย่างง่าย สะดวก รวดเร็ว และ ราคาไม่แพง แถมคุณภาพระดับโลก ด้วยการ ตั้งแนวสายพานด้วยเลเซอร์ จาก PAT ( Belt Alignment Laser )

การตั้งพูเลย์ (Pulley) ในสมัยก่อนนั้นอาจจะใช้ เส้นเอ็น เชือก หรือ ไม้บรรทัดเหล็ก ในการตั้งแนว ต้องใช้ทีมงานมืออาชีพ และความเชี่ยวชาญของทางผู้ใช้งาน และอาจเกิดความผิดพลาดและคลาดเคลื่อนสูง เพราะข้อจำกัดของเครื่องมือ และความชำนาญของผู้ใช้งาน ฯลฯ 

   Belt Alignment Laser  ของทาง PAT  ยิงเลเซอร์ ออกจากตัวต้นทาง ยิงออกมาหาตัวรับแสง ที่หนีบกับ พูเลย์ (Pulley) อีกด้านหนึ่งที่ มีระดับวัดความเอียง และแสงเลเซอร์ที่มองเห็นชัดด้วยตาเปล่า ช่วยให้ตั้งง่ายและเร็วยิ่งขึ้น  ทำให้ช่างติดตั้งสามารถขยับ พูเลย์ (Pulley) ลูกใดลูกหนึ่งให้ขยับตรงแนวได้อย่างแม่นยำ 
    การตั้งแนวสายพานด้วยเลเซอร์ (Laser Alignment) นี้ได้นำมาใช้ในในโรงงานอุตสาหกรรมสมัยใหม่มากยิ่งขึ้น ประหยัดเวลา และได้ความแม่นยำสูง ช่วยดูแลรักษาสายพาน (Belt)  และลดการ Breakdown ของเครื่องจักร ได้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

PAT - Belt drive alignment

Pulley alignment แล้วดีอย่างไร ?

ตั้งแนวสายพานและพูเล่ย์ ป้องกันการหยุดทำงานของเครื่องจักร

  • ลดการสึกหรอของสายพานและพูเล่ย์
  • ลดแรงเสียดทานและการสิ้นเปลืองพลังงาน
  • เพิ่มประสิทธิภาพและกำลังการผลิตของเครื่องจักร
  • ลดค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยนอะไหล่และเวลาการหยุดเครื่องจักร

ตั้งแนวสายพานมู่เล่ย์ได้ง่ายๆด้วย PAT (Pulley Alignment Tool)​

ปัญหาที่คุณมองข้าม อาจสร้างความเสียหาย มหาศาล

ทาง Faadtech ยกตัวอย่างปัญหา ที่ผู้ใช้งานส่วนใหญ่ มักจะละเลย นั่นก็คือปัญหาของตัวสายพาน นั่นเอง

P A T คือ Pulley Aligment Tool

เครื่องมือที่จะช่วยคุณตั้งแนวสายพาน
เพื่อป้องกันการเกิดการฉีดขาดของสายพาน และการทำงานที่หนักไปของเครื่องจักร ทำให้เกิดปัญหาอื่นๆตามมาอีกมากมาย
  • ใช้งานง่าย ไม่จำเป็นต้องมีความชำนาญ
  • ระยะยิงเลเซอร์สูงสุดถึง 6 m
  • detector มีแป้นรับ laser มีเส้นอ้างอิง ทำให้ปรับแนวได้ง่าย 
  • มีขายึดตัววีตามขนาดต่างๆ สำหรับร่องพูเล่ย์หลายขนิด

วิธีติดตั้ง PAT ง่ายๆใน 12 วิ

ส่วนหนึ่งของลูกค้าที่ไว้ใจ
Read Our Latest News

News & Articles

เครื่องจักรนั้น มีหลายประเภท หลายการใช้งาน ซึ่ง จะแบ่งตามรูปแบบการใช้งานในการทำงานเป็นส่วนใหญ่ เช่น การทำงานไม่ซับซ้อน อาจจะใช้เครื่องจักรที่เป็นรูปแบบ รอก , เชือก, ฟันเฟืองเล็กน้อย เป็นต้น ขยับความซับซ้อนเพิ่มขึ้นมา ก็จะเป็นพวกที่ทำงานผ่านระบบคอมพิวเตอร์เช่น เครื่องจักรในรูปแบบ PLC , เครื่องจักรประเภทมอเตอร์ , เครื่องจักรประเภทไฮดรอลิค เป็นต้น ตัวอย่างเครื่องจักรในแต่ละประเภท ยกตัวอย่างมา ดังนี้
การตั้ง Alignment คืออะไร Pre-Alignment หรือ การตรวจสอบความพร้อมเครื่องจักรก่อนการตั้งศูนย์เพลา ที่มีประโยชน์อย่างยิ่ง ในการช่วยให้ท่านป้องกันความผิดพลาด
FOREVER AND A DAY TECHNOLOGY

Product

X