ยินดีต้อนรับสู่ ฟอร์เอฟเวอร์ แอนด์ อะเดย์ เทคโนโลยี 

  • จ-ศ: 8.00am to 5.00pm
Search

การตั้ง Shaft alignment สำคัญอย่างไร ?

การตั้งศูนย์เพลาที่ดีคืออะไร? แล้วทำไมต้องตั้งศูนย์เพลา?

Shaft Aligntment AT- 100 ACOEM

AT-100 เป็นเครื่องมือจัดตำแหน่งตามแอพที่รวมแอพที่ผสานรวม เทคโนโลยีที่จดสิทธิบัตร และการเชื่อมต่อที่ง่ายดาย

การตั้งศูนย์เพลา (Alignment)

ในงานอุตสหกรรมในไทย ช่างซ่อมบำรุงรักษาเครื่องจักรจํานวนมาก มีแนวคิดว่าการปรับตั้งศูนย์เพลา (Alignment) เครื่องจักรเป็นเรื่องง่ายๆ ธรรมดา ไม่ได้มีความสําคัญมาก

การตั้งศูนย์เพลา ว่ากันตามทฤษฎีคือการทำให้ศูนย์การหมุน (Center of Rotationของเพลาฝั่งขับ และเพลาฝั่งถูกขับนั้น อยู่ในตำแหน่งเดียวกันขณะที่เพลาหมุน โดยการตั้งศูนย์เพลาจะทำขณะที่เครื่องจักรนั้นหยุดนิ่ง เพื่อให้ได้ค่าการเยื้องศูนย์ที่ยอมรับได้ของเครื่องจักร  การใช้ไดอัลเกจ (Dial gauge) ซึ่งมีความละเอียดมากขึ้น แต่ก็จำเป็นต้องมีการฝึกฝนการใช้งานจนเชี่ยวชาญก่อน ซึ่งปัจจุบันนี้ การใช้เครื่องมือตั้งศูนย์เพลานั้นก็เป็นอีกวิธี ที่มีความแม่นยำสูง ใช้งานได้ง่าย และรวดเร็วกว่าไดอัลเกจมาก

ทำไมต้องใช้การตั้งศูนย์เพลาที่ดีกว่าเดิม?

การตั้งเพลาที่ไม่ได้ศูนย์ หรือตั้งเพลาด้วยการคาดเดา ไม่ว่าจะเกิดจากประสบการณ์ หรือ จากการผิดพลาดจากการทำงาน จนกลายเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เครื่องจักรเสียหายและทำให้การผลิตเกิดการ BREAK DOWN. ส่งผลกระทบทางธุรกิจ อย่างมหาศาลกับโรงงาน ผู้ผลิตโดยเฉพาะในภาวะที่จะต้องแข่งขันกับคู่แข่งอยู่เสมอ
เครื่องมือการตั้งศูนย์เพลา ที่เราแนะนำจะเป็นของ ACOEM รุ่น AT 100  
  1. Vertizontal ปรับระดับได้ วัดเพียงแค่ 1 ครั้ง
  2. Guide U แนะนำทีละขั้นตอน ไม่ต้องเก่งก็ใช้ได้
  3. Sensor อัจฉริยะ ให้ผลลัพธ์เร็ว แม่นยำที่สุด
  4. PDF file แสดงการจัดตำแหน่ง ให้รู้ผลอย่างละเอียด ชัดเจน

เครื่องมือตั้งศูนย์เพลาระดับเริ่มต้น ราคาไม่แพงที่ใช้งานง่าย

ตั้งศูนย์เพลาง่ายๆ ในราคาไม่แพง ACOEM AT- 100

       AT-100 เป็นเครื่องมือตั้งศูนย์เพลาง่ายๆ ผ่านการทำงานด้วย Application ที่ผสานรวม เทคโนโลยีที่เป็นเอกลักษณ์ของทาง ACEOM ที่ใช้สะดวก และเข้าใจง่าย

       AT-100 เหมาะสำหรับงานตั้งศูนย์เพลาระดับเริ่มต้นจนถึงระดับมืออาชีพ โดยเครื่องมือจัดตำแหน่งเพลาของตัว AT-100 นั้นให้ความยืดหยุ่นในการทำงานสูง
     เครื่องมือที่ใช้งานร่วมกับอุปกรณ์นี้ ทำงานผ่าน Application ง่ายๆ บนแท็บเล็ตหรือสมาร์ทโฟน สะดวก เข้าใจง่าย และไม่ต้องการการฝึกอบรมพิเศษใดๆ ก็สามารถทำงานแบบมืออาชีพได้.

      โซลูชันการตั้งศูนย์เพลา AT-100 เป็นผลมาจากประสบการณ์ในการทำงานด้านนี้มา มากกว่า 40 ปี ของทาง ACOEM จึงทำให้ท่าน สามารถมั่นใจในการใช้งานได้ อย่างเต็มรูปแบบ

GuideU™

     ที่จะช่วย แนะนำการทำงานของอุปกรณ์ทีละขั้นตอน (Step by Step) ด้วยภาษาภาพและไอคอน เพื่อลดความผิดพลาดทางการสื่อสารด้วยภาษา
      กราฟฟิก ที่ช่วยให้ผู้ใช้จัดตำแหน่งเพลา 3 มิติ ปรับแต่งได้ ด้วยไอคอน และแสดงรหัสสี ทำให้ง่ายต่อการวัดค่าข้อมูล จัดทำเอกสาร และรายงานในแต่ละงาน ออกมาเป็น ไฟล์ PDF ได้

TrueLive™

     การอ่านค่าต่างๆจะแสดงที่จอแสดงผลแบบ Real-Time และแม้ว่าจะมีการขยับที่ไม่ตั้งใจ หรือการบังแสงเลเซอร์ขณะที่ทำงาน ระบบจะทำการย้อนค่ากลับมาเพื่อให้การทำงานนั้นสามารถทำต่อได้

      TrueLive™ ช่วยให้คุณประหยัดเวลาในการจัดตำแหน่งเครื่องจักรของคุณ แม้ว่าจะมีการย้ายตำแหน่งเครื่องจักร หรือ เลเซอร์มีปัญหา ตัว TureLive™ จะทำงานให้ตัวอุปกรณ์ กลับมาทำงานได้ปกติ

Vertizontal™ ​

   VertiZontal™ ตัวโปรแกรมนี้ จะช่วยให้คุณตั้งเครื่องจักรได้ง่ายดาย จะมีการระบุค่าให้อัตโนมัติ ซึ่งจะระบุว่า เครื่องจักรวางไม่ตรงแนวมากเพียงใด

   หลังจากวัดค่า และแสดงผลการวัดแล้วจะแนะนำขนาดที่เหมาะสมของแผ่นชิม (Shims) ที่ผู้ใช้งานควรเสริมเข้าหรือถอดออกจากมอเตอร์ ก่อนที่จะไปปรับตั้งแบบ Real-Time ในการขยับซ้าย-ขวา และการปรับแผ่นชิม

PDF REPORT

Report ข้อมูลเครื่องจักร และลายละเอียดต่างๆ ออกมาเป็นไฟล์ PDF

    ฟังก์ชันรายงาน PDF ของ Application Shaft alignment Acoem ออกมาเป็น ฟังก์ชันรายงานที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะแปลงรายงานข้อมูลเครื่องจักร บันทึกไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ PDF ซึ่งสามารถอ่านได้จากอุปกรณ์ เคลื่อนที่ทุกรูปแบบ.

AT 100

ซื้อ AT 100 ได้อะไรบ้าง

  • เซนเซอร์ M8/S8
  •  ชุดเสาตั้งเซ็นเซอร์
  • โซ่ 12.7 มม. 60 ข้อ (L=500 มม.)
  • สายวัด 5 ม.
  • ชุดค่าตั้งเซ็นเซอร์กับเพลารูปตัวV
  • เครื่องมืออเนกประสงค์มุม – 1 ชิ้น
  • สาย USB A-mini B 2m
  • แหล่งจ่ายไฟ 2 พอร์ต USB 5 VDC
Part of our trusted customers
Read Our Latest News

News & Articles

เครื่องจักรนั้น มีหลายประเภท หลายการใช้งาน ซึ่ง จะแบ่งตามรูปแบบการใช้งานในการทำงานเป็นส่วนใหญ่ เช่น การทำงานไม่ซับซ้อน อาจจะใช้เครื่องจักรที่เป็นรูปแบบ รอก , เชือก, ฟันเฟืองเล็กน้อย เป็นต้น ขยับความซับซ้อนเพิ่มขึ้นมา ก็จะเป็นพวกที่ทำงานผ่านระบบคอมพิวเตอร์เช่น เครื่องจักรในรูปแบบ PLC , เครื่องจักรประเภทมอเตอร์ , เครื่องจักรประเภทไฮดรอลิค เป็นต้น ตัวอย่างเครื่องจักรในแต่ละประเภท ยกตัวอย่างมา ดังนี้
การตั้ง Alignment คืออะไร Pre-Alignment หรือ การตรวจสอบความพร้อมเครื่องจักรก่อนการตั้งศูนย์เพลา ที่มีประโยชน์อย่างยิ่ง ในการช่วยให้ท่านป้องกันความผิดพลาด
FOREVER AND A DAY TECHNOLOGY

Product

X